บทความวิจัยคือบทความที่เป็นผลงานต่อเนื่องจากงานวิจัย หรือสกัดมาจากงานวิจัย ซึ่งบทความประเภทนี้ เป็นบทความที่ประมวลสรุปกระบวนการวิจัยให้มีความกระชับและสั้นเพื่อสำหรับตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ หรือสื่อสิ่งพิมพ์ และในที่ประชุมสัมมนา โดยการพิมพ์เผยแพร่บทความวิจัยคือบทความที่ต้องผ่านการกลั่นกรองและตรวจสอบเนื้อหาสาระความถูกต้องจากผู้ทรงคุณวุฒิในวิชาการนั้น ๆ นอกจากนี้แล้วจะต้องมีรูปแบบการจัดพิมพ์ ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของวารสาร หรือตามที่คณะกรรมการประเมินด้วย
บทความวิจัยคืออะไร มีเทคนิคการเขียนบทความวิจัยอย่างไร
การเขียนบทความวิจัยคือการนำเสนอบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ถือว่าเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบ ของอาจารย์ในมหาวิทยาลัย ซึ่งนอกจากจะทำให้อาจารย์ได้พัฒนาศักยภาพของตนเองอยู่ตลอดเวลาแล้ว บทความวิจัยคือส่วนหนึ่งในการพัฒนาชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยสู่ระดับนานาชาติอีกด้วย การเขียนบทความวิจัยที่มีคุณภาพนั้นต้องมีวิธีการเขียนบทความวิจัยคือต้องใช้เทคนิคการเขียน และมีการใช้ภาษาที่ถูกต้องด้วย วิธีการเขียนบทความวิจัยนั้นมีระดับของคุณภาพของบทความวิจัยมีอยู่ด้วยกัน 3 ระดับ เรียงจากน้อยไปหามาก ได้แก่
1.ระดับดี
คือ เป็นบทความวิจัยที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการถูกต้องสมบูรณ์และทันสมัย มีแนวคิดและการนำเสนอที่ชัดเจน เป็นประโยชน์
2.ระดับดีมาก
คือ มีเกณฑ์เช่นเดียวกับระดับดี แต่จะมีข้อกำหนดเพิ่มเติมก็คือ บทความนั้น ๆ ต้องมีการวิเคราะห์ และนำเสนอความรู้ หรือวิธีการที่ทันสมัยต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ นอกจากนี้บทความวิจัยคือบทความที่จะต้องเป็นประโยชน์และสามารถนำไปใช้อ้างอิงหรือนำไปปฏิบัติได้
3.ระดับดีเด่น
คือ มีเกณฑ์เช่นเดียวกับบทความในระดับดีมาก แต่จะมีข้อกำหนดเพิ่มเติม คือ บทความนั้น ๆ ต้องมีลักษณะเป็นงานที่บุกเบิกทางวิชาการ ตลอดจนมีการสังเคราะห์จนถึงระดับที่สร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และบทความวิจัยคือการกระตุ้นให้เกิดความคิดค้นอย่างต่อเนื่องเป็นที่น่าเชื่อถือ และเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ หรือในวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งการเขียนบทความวิจัยในระดับคุณภาพต่างๆ นั้นขึ้นอยู่กับแก่นสาระที่สำคัญของงานบทความวิจัยคือใช้ระเบียบวิธีการในการวิจัยที่เหมาะสม และมีผลการวิจัยที่ยังไม่เคยมีการค้นพบมาก่อน
7 เทคนิคการเขียนบทความวิจัย
บทความวิจัยคือบทความที่ควรประกอบด้วยส่วนประกอบที่สำคัญ ดังต่อไปนี้
1.ชื่อเรื่อง(Title)
ผู้เขียนต้องตั้งชื่อเรื่องของบทความวิจัยที่บ่งบอกให้เห็นถึงประเด็นที่สำคัญของงานวิจัย ชื่อเรื่องต้องตรงประเด็น ไม่กำกวม และเข้าใจได้ง่าย
2.บทคัดย่อ(Abstract)
บทคัดย่อนั้นนับว่าเป็นส่วนที่เขียนยากที่สุดของบทความวิจัย ผู้เขียนควรจะเขียนบทคัดย่อในลำดับท้ายสุด เนื่องจากเนื้อหาของบทคัดย่อ จะต้องมีการกล่าวถึงเนื้อหาโดยรวมทั้งหมดของบทความหรือแบบที่มีข้อจำกัดในด้านของจำนวนคำในการเขียน ซึ่งในการเขียนบทคัดย่อที่ดีนั้นผู้เขียนบทความวิจัยคือผู้ที่ควรจะต้องเข้าใจเนื้อหาทั้งหมดเสียก่อนจึงจะสามารถเขียนได้อย่างกระชับ และบทความวิจัยคือสามารถถ่ายทอดเนื้อหาสาระที่สำคัญของบทความวิจัยได้ เนื้อหาในส่วนของบทคัดย่อควรจะกล่าวถึง วัตถุประสงค์ของงานวิจัย วิธีการในการทำวิจัย ผลของการวิจัย
3.บทนำ(Introduction)
เนื้อหาในส่วนของบทนำจะต้องกล่าวถึง ความเป็นมาและสิ่งที่น่าสนใจของงานวิจัยว่ามีอะไรใหม่ ๆ หรือมีความโดดเด่นอย่างไร มีความแตกต่างจากงานวิจัยอื่นๆในเรื่องเดียวกันอย่างไร นอกจากนี้ บทความวิจัยคือ บทความที่ควรกล่าวด้วยว่างานวิจัยนี้สามารถแก้ปัญหา หรือ อุดช่องโหว่ในวงการวิชาการนั้น ๆ อย่างไร
4.ระเบียบวิธีวิจัย (Research methodology)
เนื้อหาของส่วนนี้ ผู้เขียนจะต้องกล่าวถึงวิธีที่ใช้ในการทำวิจัย เช่น บทความวิจัยคือ บทความงานวิจัยเชิงคุณภาพ หรือบทความงานวิจัยเชิงปริมาณ และมีวิธีการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลหรือกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีใดผู้ที่ให้ข้อมูลหรือกลุ่มตัวอย่างเป็นใคร มีจำนวนเท่าไร ใช้วิธีใดในการเก็บข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล นอกจากนี้จะต้องเหตุผลที่ผู้เขียนใช้วิธีวิจัยดังกล่าว
5.ผลการวิจัย(Research findings/results)
เป็นหัวใจหลักของบทความวิจัยคือ ผู้เขียนต้องเขียนอธิบายว่า เมื่อได้ศึกษาแล้ว ค้นพบอะไรบ้าง ผู้เขียนอาจมีการนำเสนอด้วยการใช้แผนภูมิ หรือตารางในการอธิบาย
6.วิจารณ์ผลการวิจัย(Discussion)
ในส่วนนี้ของบทความวิจัยคือส่วนที่ผู้เขียนสามารถที่จะนำไปรวมอยู่ในส่วนของผลการวิจัยก็ได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับ รูปแบบที่กำหนด การวิจารณ์ผลการวิจัยเป็นการเปรียบเทียบผลที่ผู้เขียนค้นพบกับการศึกษาก่อนหน้านี้ และบทความวิจัยคือบทความที่เป็นการแสดงการวิเคราะห์ว่าผู้เขียนเห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วยกับการศึกษาก่อนหน้านั้น อย่างไรก็ตามการเขียนในส่วนนี้ ต้องอาศัยการทบทวนวรรณกรรม หรืองานวิจัยจำนวนมากมาก่อน
7.บทสรุป(Conclusion)
เป็นส่วนที่สรุปสาระสำคัญของบทความวิจัยคือประเด็นที่ผู้เขียนค้นพบ ในความยาวประมาณ 1-2 ย่อหน้า
นอกจากนี้ ยังมีเทคนิคอื่นๆเพิ่มเติม สำหรับการเขียนบทความวิจัยคือ
- 1.ผู้เขียนควรพึงระลึกว่า บทความวิจัยคือ ผู้เขียนจะต้องพยายามสื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้ว่า ตนเองเห็นมากกว่า หรือลึกซึ้งมากกว่าคนอื่นอย่างไร หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ ต้องเขียนให้คนอ่าน มีจินตนาการเข้าใจตามปรากฏการณ์ที่ผู้เขียนเห็น ซึ่งผู้เขียนจะต้องสังเคราะห์สิ่งเหล่านั้น และนำไปเชื่อมโยงกับทฤษฎี
- 2.ทฤษฎีต่างๆ เช่น ทฤษฎีที่คิดค้น มีความจำเป็นอย่างมากในบทความวิจัยคือการนำมาอธิบาย และสังเคราะห์ ผู้เขียนต้องอ่านทฤษฎีเหล่านี้จนเข้าใจอย่างถ่องแท้ และสามารถอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ซึ่งในส่วนนี้บทความวิจัยคือส่วนที่สำคัญอย่างยิ่ง กล่าวคือ ถ้าเราสามารถอธิบายทฤษฎีนั้น ๆ กับงานบทความวิจัยได้อย่างชัดเจน
- 3.รูปแบบในการเขียนบทความวิจัยคือการอ้างอิงเอกสาร นับว่าเป็นประเด็นที่สำคัญมาอีกประการหนึ่ง ในปัจจุบันรูปแบบการอ้างอิงมีอยู่ด้วยกันหลายรูปแบบผู้เขียนบทความต้องใช้รูปแบบการอ้างอิง ที่วารสารนั้นๆกำหนดอย่างถูกต้อง
Leave a Comment